ข่าว/บทความ
เปิดมุมซ่อนมลพิษที่เมืองชลฯ ผลพวงกิจการ “รีไซเคิล” โดยทุนจีน (2) (13 ก.พ. 67)
มลพิษที่แสดงออกเป็น “ความเหม็นจนแสบตาแสบจมูก” ไม่ได้จำกัดอยู่ภายในโรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ ของนายทุนชาวจีน ซึ่งตั้งอยู่ที่ ต. คลองกิ่ว อ. บ้านบึง จ. ชลบุรี เท่านั้น หากแต่มลพิษจากโรงงานดังกล่าวยังเผื่อแผ่ออกมาสู่ภายนอกด้วย
เปิดมุมซ่อนมลพิษที่เมืองชลฯ ผลพวงกิจการ “รีไซเคิล” โดยทุนจีน (1) (12 ก.พ. 67)
เหม็นจนแสบจมูกและแสบตาไปหมด...คือสัมผัสแรกที่เกิดขึ้นเมื่อพวกเราจาก มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH) และจากเครือข่ายผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษ ลงพื้นที่ร่วมกับสื่อมวลชนของประเทศสิงคโปร์
เปิดคลิปการเผชิญหน้า เวทีรับฟังความคิดเห็นโครงการโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรม (8 ก.พ. 67)
งานรับฟังความคิดเห็นที่เต็มไปด้วยกลุ่มชายฉกรรจ์ปิดกั้นทางเข้างาน คือสาระหลักที่พบได้ในคลิปวิดีโอที่กลุ่มชาวบ้านจาก 3 พื้นที่ ได้แก่ กลุ่มปราจีนเข้มแข็ง กลุ่มผู้คัดค้านโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรมในพื้นที่ อ. ปลวกแดง จ. ระยอง
ชาวปราจีนฯ ระยอง ชลบุรี ผนึกกำลังค้านโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรม ร่วมกันยื่นหนังสือต่อ กกพ. และ กสม. (6 ก.พ. 67)
กลุ่มปราจีนเข้มแข็งร่วมกับกลุ่มผู้คัดค้านโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรมในพื้นที่ อ. ปลวกแดง จ. ระยอง และกลุ่มผู้คัดค้านโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรมใน จ. ชลบุรี ส่งตัวแทนเข้ายื่นหนังสือต่อประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.)
มูลนิธิบูรณะนิเวศร่วมกับมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เผยผลทดสอบพบสารเคมีตลอดกาล หรือ PFAS ในเสื้อแจ็กเก็ตจากประเทศไทยและทั่วโลก ย้ำ “การเลิกใช้ สาร PFAS คือทางออกที่ปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมที่สุด” (5 ก.พ. 67)
วันจันทร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 มูลนิธิบูรณะนิเวศและมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ร่วมกันการแถลงข่าวและนำเสนอผลการศึกษาเรื่องการปนเปื้อนของสาร PFAS “สารเคมีตลอดกาล (Forever chemicals)” ในผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
มลพิษราชบุรี - เปิดพื้นที่เรียนรู้ การต่อสู้กับมลพิษโรงงานรีไซเคิลของชุมชนห้วยน้ำพุ (2 ก.พ. 67)
(2 กุมภาพันธ์) กลุ่มคนรักษ์ต้นน้ำ จังหวัดราชบุรี และประชาชนตำบลน้ำพุ ร่วมกับมูลนิธิบูรณะนิเวศ และกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีการต่อสู้และปกป้องสิ่งแวดล้อมของชาวตำบลน้ำพุ ซึ่งต้องเผชิญกับผลกระทบจากโรงงานรีไซเคิลและฝังกลบของเสีย
ตรวจสอบโรงงานรีไซเคิล ต.เขาหินซ้อน หลังชาวบ้านร้องปัญหาคุณภาพน้ำกระทบพื้นที่เกษตร (30 ม.ค. 67)
(30 มกราคม) อำเภอพนมสารคามนำคณะเจ้าหน้าที่ตรวจสอบพื้นที่ภายในโรงงานของ บริษัท ซี ที สตีล จำกัด ซึ่งประกอบกิจการรีไซเคิลและหล่อหลอม ตั้งอยู่ที่ ม.1 ต.เขาหินซ้อน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา หลังจากที่ชาวบ้านในพื้นที่ได้ร้องเรียนถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดเมื่อปีที่ผ่านมา
กฎหมาย PRTR เตรียมเข้าสภาฯ เปิดข้อมูลมลพิษ (29 ม.ค. 67)
ร่าง พรบ.การรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ พ.ศ. … หรือ ที่เรียกว่า “กฎหมาย PRTR” จ่อคิวเข้าสภาผู้แทนราษฎรเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ก่อนหน้านี้ หลากหลายองค์กรทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต่างพยายามขับเคลื่อนกฎหมาย PRTR ในแบบฉบับของแต่ละส่วนมาอย่างต่อเนื่อง นำมาสู่การเปิดเวทีเสวนา “สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR”
ความอันตรายของพลุอยู่ที่สารเคมี อันตรายที่สุดของสารเคมีอยู่ที่ความไม่รู้
เหตุการณ์โรงงานผลิตพลุระเบิดในเขต อ. เมืองสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 17 มกราคมที่ผ่านมา นอกจากจะทำลายอาคารสถานที่จนแทบไม่เหลือซาก ยังคร่าชีวิตเจ้าของโรงงานและคนทำงานแบบฉับพลันทันทีไปถึง 23 คน บ้านเรือนที่ตั้งอยู่ในรัศมี 300 เมตรโดยรอบ พลอยได้รับความเสียหายไปด้วยเป็นจำนวนหลายหลัง
โดย มูลนิธิบูรณะนิเวศ (27 มกราคม 2567)
เอกสารแถลงข่าว: สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR (23 ม.ค. 67)
งานเสวนา ‘สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR'
วันที่ 23 มกราคม 2567 เวลา 13.30 - 15.00 น.
มุมสามเหลี่ยม ชั้น 1 (Corner Space, 1st Floor), หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC)
จัดโดย มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLAW) มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH) กรีนพีซ ประเทศไทย และชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม